Chiang Mai Lawyer-Solicitor Chiang Rai Lawyer-Solicitor (St.-Cm. Law Firm) Since 1992 AREA OF PRACTICE Divorce Child Custody Family Law Notary Public Property Company Setup Testament Litigation Criminal Defense Civil Law Tel. 086-4293063, 082-1907466, 088-2516286 Fax: 053-718923 E-Mail: cmlawfirm@hotmail.com, banjonsanlawyer@gmail.com Line ID: 0864293063 Offices: Chiang Rai - Chiang Mai (Hot: chiang mai lawyer-chiang mai solicitor-chiang rai lawyer-chiang rai solicitor)
Friday, November 15, 2013
เหตุแห่งการออกหมายจับ
เหตุแห่งการออกหมายจับ
ต้องมีหลักฐานตามสมควร ว่าบุคคลนั้นกระทำความผิด
แต่ในทางปฏิบัติ
หลักฐานตามสมควรได้แก่ การร้องทุกข์ หรือกล่าวโทษ เห็นว่า ไม่น่าจะถูกต้อง ที่ดูเฉพาะการ
แจ้งความ กล่าวโทษเท่านั้น เห็นว่าควรดูให้ลึก อันได้แก่
เมื่อมีผู้มาร้องทุกข์ ๆ มีหลักฐานตามสมควรหรือไม่ หรือแค่แจ้งด้วยวาจา ไม่มีพยาน หลักฐาน
อันควรอื่นๆสนับสนุน เป็นต้น
Monday, November 4, 2013
ละเมิด (ค่าเสียหายเชิงลงโทษ) Tort (Punitive Damages)
โดย : บันจงสัณห์ วิญญรัตน์ น.บ., น.ม., M.B.A.
, St.-Cm. Int'l Law Firm
กฎหมายอเมริกา ผู้เสียหายจากคดีละเมิดสามารถเรียกค่าเสียหายตามความ
จริง และค่าเสียหายเพื่อการลงโทษได้ (Punitive Damages)
ซึ่งแตกต่างกับของประเทศไทย ที่เรียกได้เฉพาะค่าเสียหายที่เสียไปจริง ในทางปฏิบัติ แล้ว
ฝ่ายที่เสียหาย ก็ต้องพิสูจน์เรื่องค่าเสียหาย เช่น ค่ารักษาพยาบาล ฯลฯ เป็นต้น
ต้องแสดงใบเสร็จรับเงิน, ผู้รับเงิน, แพทย์ กว่าจะได้เงิน ซึ่งย่อมไม่คุ้มค่า
กับการที่ต้องสูญเสีย หรือเสียหาย บ้างก็ท้อแท้ ปล่อยไปตามกรรม
ทำให้ประเทศไทยเรามีการละเมิด ไม่ว่าทั้งทางร่างกาย จิตใจ อยู่ทุกวี่วัน
ผมได้ทำคดีหนึ่ง ฝ่ายหญิงเป็นชาวอเมริกัน ฝ่ายชายเป็นอังกฤษ ฝ่ายหญิง
ซึ่งเป็นภริยาจดทะเบียนสมรส ถูกชายสามีทำร้ายสาหัส ที่เมืองไทย
สามีว่า นี่เมืองไทย ไม่ใช่อเมริกา ว่างั้น
สาเหตุหลักที่ สหรัฐ ไม่ค่อยมีการละเมิดกัน เพราะจ่ายแพง แต่เมืองไทย
ละเมิดกัน ทำร้ายกัน ปางตาย ได้เงินหมื่นเงินแสนนับว่าบุญโข....
สหรัฐ..แค่ทำกาแฟหกใส่ตักเข้า จ่ายเป็นสิบ เป็นร้อยล้านดอลล่าร์
ด้วยความเคารพในกฎหมายบ้านเมืองไทยเรื่องละเมิด ณ เวลานี้
ผมไม่เห็นด้วยจริงๆ ที่ไม่มีการนำหลักการ ชดใช้ค่าเสียหายในเชิงลงโทษ
มาใช้กับประเทศเรา
ไม่ค่อยมีประโยชน์ใด ที่จะพยายามลงโทษผู้กระทำความผิด โดยนำไปจองจำ
จำคุก มากไปกว่าการลงโทษโดยการพยายามให้ผู้เสียหายได้รับการเยียวยา
, St.-Cm. Int'l Law Firm
กฎหมายอเมริกา ผู้เสียหายจากคดีละเมิดสามารถเรียกค่าเสียหายตามความ
จริง และค่าเสียหายเพื่อการลงโทษได้ (Punitive Damages)
ซึ่งแตกต่างกับของประเทศไทย ที่เรียกได้เฉพาะค่าเสียหายที่เสียไปจริง ในทางปฏิบัติ แล้ว
ฝ่ายที่เสียหาย ก็ต้องพิสูจน์เรื่องค่าเสียหาย เช่น ค่ารักษาพยาบาล ฯลฯ เป็นต้น
ต้องแสดงใบเสร็จรับเงิน, ผู้รับเงิน, แพทย์ กว่าจะได้เงิน ซึ่งย่อมไม่คุ้มค่า
กับการที่ต้องสูญเสีย หรือเสียหาย บ้างก็ท้อแท้ ปล่อยไปตามกรรม
ทำให้ประเทศไทยเรามีการละเมิด ไม่ว่าทั้งทางร่างกาย จิตใจ อยู่ทุกวี่วัน
ผมได้ทำคดีหนึ่ง ฝ่ายหญิงเป็นชาวอเมริกัน ฝ่ายชายเป็นอังกฤษ ฝ่ายหญิง
ซึ่งเป็นภริยาจดทะเบียนสมรส ถูกชายสามีทำร้ายสาหัส ที่เมืองไทย
สามีว่า นี่เมืองไทย ไม่ใช่อเมริกา ว่างั้น
สาเหตุหลักที่ สหรัฐ ไม่ค่อยมีการละเมิดกัน เพราะจ่ายแพง แต่เมืองไทย
ละเมิดกัน ทำร้ายกัน ปางตาย ได้เงินหมื่นเงินแสนนับว่าบุญโข....
สหรัฐ..แค่ทำกาแฟหกใส่ตักเข้า จ่ายเป็นสิบ เป็นร้อยล้านดอลล่าร์
ด้วยความเคารพในกฎหมายบ้านเมืองไทยเรื่องละเมิด ณ เวลานี้
ผมไม่เห็นด้วยจริงๆ ที่ไม่มีการนำหลักการ ชดใช้ค่าเสียหายในเชิงลงโทษ
มาใช้กับประเทศเรา
ไม่ค่อยมีประโยชน์ใด ที่จะพยายามลงโทษผู้กระทำความผิด โดยนำไปจองจำ
จำคุก มากไปกว่าการลงโทษโดยการพยายามให้ผู้เสียหายได้รับการเยียวยา
เจ้าหนี้ซึ่งจะขอรับชาระหนี้ในคดีล้มละลาย
เจ้าหนี้ซึ่งจะขอรับชาระหนี้ในคดีล้มละลายจะเป็นเจ้าหนี้ผู้
เป็นโจทก์หรือไม่ก็ตาม ต้องยื่นคาขอต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายใน
กาหนดเวลาสองเดือนนับแต่วันโฆษณาคาสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด แต่ถ้า
เจ้าหนี้อยู่นอกราชอาณาจักร เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะขยายกาหนด
เวลาให้อีกได้ไม่เกินสองเดือน
สองเดือนนั้นสั้นไป ไม่มีใครรู้หรอก ...... เปรียบเทียบต่างประเทศ?
(ของอเมริกานั้น เป็นหน้าที่ จพท. ต้องแจ้งให้เจ้าหนี้ทุกรายทราบ)
เพราะผลการไม่ยื่นคาขอรับชาระหนี้ ภายในระยะเวลาสองเดือนตามกฎหมายนี้
ทำให้เจ้าหนี้ไม่ได้รับชาระหนี้เลย
เป็นโจทก์หรือไม่ก็ตาม ต้องยื่นคาขอต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายใน
กาหนดเวลาสองเดือนนับแต่วันโฆษณาคาสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด แต่ถ้า
เจ้าหนี้อยู่นอกราชอาณาจักร เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะขยายกาหนด
เวลาให้อีกได้ไม่เกินสองเดือน
สองเดือนนั้นสั้นไป ไม่มีใครรู้หรอก ...... เปรียบเทียบต่างประเทศ?
(ของอเมริกานั้น เป็นหน้าที่ จพท. ต้องแจ้งให้เจ้าหนี้ทุกรายทราบ)
เพราะผลการไม่ยื่นคาขอรับชาระหนี้ ภายในระยะเวลาสองเดือนตามกฎหมายนี้
ทำให้เจ้าหนี้ไม่ได้รับชาระหนี้เลย
Subscribe to:
Posts (Atom)